วันเสาร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2551

เสียดายจัง

เกือบแล้ว....เสียดายอะ

ตอนที่เข้ารอบแรกตื่นเต้นมาก...ไม่นึกว่าจะชนะ

รอบสองผ่านสบาย...(ทีมเค้ามะมา)

รอบสุดท้าย แพ้ เพราะเล่นลูกไกลๆมะได้ เสียดาย

เกือบได้ถ้วยแล้ว มี4 รางวัล ได้ที่5 ไม่น่าเลย......

ไม่เปนไรปีหน้าเอาใหม่...

***แต่ขนมที่นั่นอร่อยมาก.....**


วันพุธที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551

อยากเรียนก็ต้องรู้......

พระบิดาแห่งนิเทศศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นจอมปราชญ์ รอบรู้ศิลปะวิทยาทุกด้าน ทรงได้รับยกย่อง ในฐานะผู้ริเริ่มนำวิทยาการสมัยใหม่ มาสู่คนไทย และได้ทรงปรับเปลี่ยนพิธีการต่างๆเพื่อให้เหมาะสมกับกาลสมัย
ประวัติศาสตร์ได้บันทึกว่า พระองค์ทรงสนพระทัยด้านเทคโนโลยีการพิมพ์ การใช้การสื่อสารในหลายช่องทาง เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน ทำให้ชาติไทยรอดพ้นการเป็นเมืองขึ้นของประเทศตะวันตก พระองค์ทรงใช้กุศโลบายทางด้านการประชาสัมพันธ์ การสื่อสารโน้มน้าวใจให้ประเทศตะวันตกเชื่อถือในตัวพระองค์ และสยามประเทศ ว่าเป็นประเทศที่มีอารยธรรมเจริญ รุ่งเรืองมาช้านานมีวัฒนธรรม ที่ดีงามและสามารถปรับตัว เข้ากับวัฒนธรรมตะวันตกได้ พระองค์ได้เล็งเห็นความสำคัญ ของภาษาอังกฤษได้สนับสนุน ให้พระราชโอรสและพระราชธิดาได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารที่จะรู้เท่าทันชาติตะวันตก และเป็นสื่อทางวัฒนธรรมที่สำคัญ นอกจากนี้ พระองค์ยังได้เปิดการสื่อสารระหว่างพระเจ้าแผ่นดินกับราษฎร โดยทำเป็นประกาศต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจกับประชาชน อันเป็นการเปลี่ยนแปลงการสื่อสารไปจากดั้งเดิม
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงเห็นสมควรที่จะจัดวันเทิด พระเกียรติพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นในวันที่ 18 ตุลาคมของทุกปีซึ่งตรงกับวันพระราชสมภพ ในฐานะที่พระองค์ ได้ทรงริเริ่มวิชาการทางนิเทศศาสตร์ไทย โดยเฉพาะทางด้านการพิมพ์ พระองค์เปรียบดั่ง "บิดาแห่งนิเทศศาสตร์ไทย" ที่ทำให้วิชาการทางนิเทศศาสตร์ไทยเจิญงอกงามรุ่งเรืองมาตราบ


หอยสังข์สัญลักษณ์ของคณะนิเทศศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีสัญลักษณ์ประจำคณะเป็น "หอยสังข์" ซึ่งถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อโบราณ
นอกจากนี้ "หอยสังข์" ยังเป็นเครื่องหมายของการป่าวประกาศ โดยการเป่าหอยสังข์ในพิธีสำคัญนั้น จะใช้เป่าเฉพาะในยามจำเป็นเท่านั้น ซึ่งความสำคัญของการเป่าหอยสังข์นี้สามารถเปรียบได้กับการประกาศป่าวร้องที่ต้องรู้จักกาลเทศะ อีกทั้งเมื่อทำการเป่า "หอยสังข์" แล้วก็จะเกิดเสียงอันไพเราะ ซึ่งเปรียบเสมือนการป่าวร้องหรือการประชาสัมพันธ์ที่ต้องรู้จักสรรหาถ้อยคำอันไพเราะวิจิตรบรรจง จูงใจหว่านล้อมให้คนคล้อยตามและเชื่อถือเหมือนต้องมนต์สะกดจากสังข์
ด้วยความหมายและความสำคัญของ "หอยสังข์" ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับปณิธานสำคัญของการเป็นนักนิเทศศาสตร์ที่ดีนี้เอง จึงเป็นที่มาของการใช้ "หอยสังข์" เป็นสัญลักษณ์ของคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจวบจนปัจจุบัน

วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2551

Café

Le mot café désigne les graines du caféier, un arbuste du genre Coffea, et une boisson psychoactive obtenue à partir de ces graines. Il désigne aussi son lieu de consommation, le café ou bar ou bistro.
La culture du café est très développée dans de nombreux pays tropicaux, dans des plantations qui cultivent pour les marchés d'exportation. Le café est une des principales denrées d'origine agricole échangées sur les marchés internationaux, et souvent une contribution majeure aux exportations des régions productrices.


Botanique


Les caféiers sont des arbustes des régions tropicales du genre Coffea de la famille des Rubiacées. Les espèces Coffea arabica (historiquement la plus anciennement cultivée) et Coffea canephora (ou caféier robusta), sont celles qui servent à la préparation de la boisson. D'autres espèces du genre Coffea ont été testées à cette fin ou sont encore localement utilisées, mais n'ont jamais connu de grande diffusion.
Les caféiers sont des arbustes à feuilles persistantes et opposées, qui apprécient généralement un certain ombrage (ce sont à l'origine plutôt des espèces de sous-bois). Ils produisent des
fruits charnus, rouges, violets, ou jaunes, appelés cerises de café, à deux noyaux contenant chacun un grain de café (la cerise de café est l'exemple d'une drupe polysperme). Lorsqu'on dépulpe une cerise, on trouve le grain de café enfermé dans une coque semi-rigide transparente à l'aspect parcheminé correspondant à la paroi du noyau. Une fois dégagé, le grain de café vert est encore entouré d'une peau argentée adhérente correspondant au tégument de la graine.
Coffea arabica, qui produit un café fin et aromatique, nécessite un climat plus frais que Coffea canephora (robusta), qui donne une boisson riche en
caféine. La culture de l'arabica plus délicate et moins productive est donc plutôt réservée à des terres de montagne, alors que celle du robusta s'accommode de terrains de plaine avec des rendements plus élevés.
Le plant mère de la plupart des plants d'
arabica du monde est conservé au Hortus Botanicus d'Amsterdam.


คำศัพท์

Botanique พฤกษศาสตร์
développer เจริญขึ้น


tropicale แห่งประเทศร้อน

coque เปลือกนอก


วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2551

เที่ยวเชียงใหม่

เราไปเที่ยวเชียงใหม่มา

วันแรก

ไปเที่ยวสวนส้มธนาธรที่แม่อาย อากาศดี สวยมาก มีส้มเต็มเลย

แล้วก้อไปเชียร์พ่อแข่งฟุตบอลที่สนาม 700 ปี (กว้างมาก)

พอกินข้าวเย็นเส็ดก้อไปตลาดไนท์บาซ่าร์

วันที่สอง

ไปเที่ยวดอยสุเทพ

ดอยปุย เป็นหมู่บ้านชาวม้ง อยู่สูงมากๆ มีเด็กดอยเต็มเลย

พระตำหนักภูพิงราชนิเวศน์ ดอกไม้สวยมากๆ (มีซาลาเปาปักกิ่งขายด้วย อร่อยดี)

แวะซื้อของฝากที่ลำปาง.....

Teacher's day

A day that is dedicated to the hard work that is input by the teacher all year long, a day that is a complete tribute to the teachers all around India. In India teacher day is celebrated on 5th of September. Teachers Day is a dedication to Dr. Sarvepalli Radhakrishnan, who was a staunch believer of education and was one of the most well known diplomat, scholar, president of India and above all a teacher. As a tribute to this great teacher, his birthday has been observed as teachers' day and this led to its origin. This day is just a mere reflection of Dr. Sarvepalli Radhakrishnan's love for and attachment to the teaching profession. As a matter of fact Dr. Radhakrishnan himself asked his admirers to celebrate his birthday not as his birthday but as the teacher's day. One of the most celebrated writers in the modern India today his work varies on philosophical, theological, ethical, educational, social and cultural subjects. He contributed numerous articles to different well-known journals, which, are of immense value and seems to surprise various readers because of the depth in the meaning of the articles.

Teacher's day is now one of the occasion that is looked forward by the teachers and students alike as on this occasion its not only when teachers are praised but also around various schools students dress up as a representation of their teachers and take various lectures that are assigned to the teachers they represent. As the day passes the students perform the regular activities that are performed by the teacher's. On this day students realize what it means to be a teacher and what it means to control the future of several students in their classes and also teachers are reminded what it felt like when they were the students.Apart from the fun aspect everybody should pay their respects to the great Dr. Radhakrishnan. Since that day this event have become a regular event.

Apart from the fun aspect of the day it is also a day when one can look back and admire and get inspired by Dr. Radhakrishnan, a small town cunning boy, who grew up to become one of the most respected politicians in the history of democracy of India

อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย







อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่อำเภอแม่ริม อำเภอหางดง และอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยป่าที่อุดมสมบูรณ์ ภูเขาที่สูงสลับซับซ้อน ที่สำคัญได้แก่ ดอยสุเทพ ดอยบวกห้า และดอยปุย เป็นแหล่งกำเนิดของต้นน้ำลำธาร มีเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงาม ทั้งมีสภาพที่ศักดิ์สิทธิ์และสำคัญทางศาสนา และทางประวัติศาสตร์อยู่ 2 แห่ง คือ วัดพระธาตุดอยสุเทพวรวิหาร และพระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย มีเนื้อที่ประมาณ 262.50 ตารางกิโลเมตร หรือ 163,162.50 ไร่
ประวัติความเป็นมา
เดิมป่าดอยสุเทพได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศกำหนดให้เป็นป่าหวงห้าม เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 ตามพระราชบัญญัติหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2479 ต่อมาได้มีกฎกระทรวงฉบับที่ 25 (พ.ศ. 2507)ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 กำหนดให้ป่าดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นป่าสงวนแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2510 กำหนดให้ป่าสงวนแห่งชาติป่าดอยสุเทพเป็นป่าสงวนแห่งชาติพิเศษ
ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กำหนดป่าดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่และป่าอื่น ๆ ในท้องที่จังหวัดต่าง ๆ รวม 14 ป่า เป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งที่ 930/2516 ลงวันที่ 3 กันยายน 2516 ให้นายปัญญา บุญสมบูรณ์ ไปดำเนินการสำรวจป่าดอยสุเทพ - ปุย เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติผลการสำรวจพื้นที่ดังกล่าวมีความเหมาะสมกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติ
กรมป่าไม้ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาต ิในคราวประชุมครั้งที่ 7/2517 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2517 มีมติเห็นชอบในหลักการให้กำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติแต่ยังคงสภาพเป็นป่าสงวนแห่งชาติพิเศษอยู่ตามเดิมและให้ดำเนินการสำรวจรังวัดแนวเขตอุทยานแห่งชาติต่อไป ซึ่งกองอุทยานแห่งชาติพิเศษอยู่ตามเดิมและให้ดำเนินการสำรวจ


วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2551

ลิงบวกเลขได้เหมือนมนุษย์ จริงหรือ!?

ข่าวแปลก เรื่องแปลก เรื่องเหลือเชื่อ เกร็ดความรู้ วันนี้ เรามีเรื่องลิงๆ มาฝากเพื่อนๆ ค่ะ เชื่อหรือไม่ว่า... ลิง สามารถบวกเลขได้เหมือนมนุษย์ โอ้โห อะไรจะเก่งขนาดนั้น... ว่าแต่จะจริงหรือไม่จริง เราไปอ่าน ข่าว ข่าวแปลก เรื่องแปลก เรื่องเหลือเชื่อ เกร็ดความรู้ นี้พร้อมๆ กันเลย



ลิงนั้นมีมันสมองที่ชาญฉลาดไม่ใช่ย่อย ที่กล่าวนี้ไม่ใช่อ้างกันลอยๆ แต่นักวิทยาศาสตร์จากดุ๊ก ยูนิเวอร์ซิตี้ เขาวิจัยมา
ดร.เจสซิกา แคธลอน นักวิทยาศาสตร์ด้านสมอง กล่าวว่า ลิงมีความสามารถด้านคณิต ศาสตร์เหมือนมนุษย์คล้ายกับนักเรียนมหาวิทยาลัย แต่ไม่ได้หมายความว่า ลิงจะเก่งเลขเหมือนกับนักศึกษาเหล่านี้
การศึกษาได้ทำการเปรียบเทียบความสามารถด้านคณิตศาสตร์ระหว่างลิง 2 ตัว และนักศึกษามหาวิทยาลัย 14 คน โดยลิงและนักศึกษาต้องนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์แบบทัชสกรีน โดยหน้าจอจะแสดงกลุ่มของจุดจำนวนต่างๆ กัน เช่น กลุ่มแรกมีจุดทั้งหมด 6 จุด ภาพต่อมามีจุดทั้งหมด 3 จุด และภาพต่อมามีช่อง 4 เหลี่ยม 2 อัน อันหนึ่งแสดงผลบวกที่ถูกต้องของจุด 2 กลุ่ม คือ 9 ส่วนอีกช่องจะใส่ผลบวกค่าอื่น พบว่า ลิงและนักศึกษามีความสามารถในการบวกเหมือนกัน และถ้าลิงเลือกคำตอบที่ถูกมันจะได้น้ำดื่มที่มันโปรด ปรานเป็นรางวัล ในส่วนของความถูกต้องนั้น นักศึกษาตอบถูก 94% ส่วนลิงตอบถูก 76% ซึ่งการตัดสินใจในการตอบแต่ละข้อนั้นเฉลี่ย 1 วินาที และยังพบว่า ถ้าคำตอบในช่องสี่เหลี่ยมมีความใกล้เคียงกัน เช่น 11 และ 12 นักศึกษาและลิงก็จะมีโอกาสตอบผิดเหมือนๆ กันด้วย

Cerveau



En anatomie animale et humaine, le cerveau (ou prosencéphale) est l'organe central supervisant le système nerveux. Bien que le cerveau soit volontiers cité comme centre de supervision du système nerveux central des vertébrés, le même terme peut être employé pour le système nerveux central des invertébrés.
À noter que dans le langage courant, le terme « cerveau » est employé pour désigner l'ensemble de l'
encéphale, c'est-à-dire la partie du système nerveux central située dans la boîte crânienne, ce qui inclut par exemple, le cervelet. Le cerveau est également appelé vulgairement cervelle.

คำศัพท์........
Cerveau สมอง
anatomie กายวิภาคศาสตร์
système ระบบ
employé คนใช้
vertébré สัตว์จำพวกนก งู

วันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2551

กูเกิล เผย คำค้นยอดนิยมของไทยปี 50

เว็บไซต์ยอดนิยมสำหรับการสืบค้นข้อมูล ได้เปิดเผยคำค้นหายอดนิยมของไทย ประจำปี 2550 เป็นคำเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ "เศรษฐกิจพอเพียง", "ในหลวง" และ "บทเพลงพระราชนิพนธ์" ขณะที่ปรากฏการณ์ "จตุคามรามเทพ" ก็เป็นหนึ่งในคำค้นหาที่มาแรงที่สุดในรอบปี นอกเหนือจากชื่อเกม และเพลงจากวง Retrospect นอกจากนี้ภาพยนตร์เรื่อง "รักแห่งสยาม", "ขำกลิ้งลิงกับหมา" และ "แพนเค้ก" ก็เป็นคำค้นหายอดนิยมในหมวดที่เกี่ยวข้องกับบันเทิง ส่วน "เชียงใหม่" เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่คนนิยมค้นหามากที่สุด สำหรับคำค้นหายอดนิยมในหมวดที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมบันเทิงออนไลน์ ได้แก่ "Youtube" ด้านคำค้นหายอดนิยมในหมวดที่เกี่ยวข้องกับความสนใจส่วนตัว ได้แก่ "ดูดวง", "จตุคามรามเทพ" และ "ผลการแข่งขันฟุตบอล" คำค้นหายอดนิยมในหมวดที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคือ "มหาวิทยาลัยรามคำแหง"
happy new year.......
หวังอะไรได้ดั่งที่วาดหวัง
ขอพลังจงอยู่คู่เสมอ
ให้ก้าวมั่นสิ่งใดสมใจเธอ
มีความสุขอยู่เสมอ..ทุกคืนวัน
ปีนี้อาจไม่ดีอย่างที่หวัง
ถูกใจเธอหรือยัง...อย่าไปสน
ปีหน้าฟ้าใหม่ไม่อับจน
ขอทุกอย่างสัมฤทธิ์ผลสมดั่งใจ