วันเสาร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2551

วิธีขับถ่ายปัสสาวะ เพื่อสุขภาพที่ดี

ขับถ่าย
อย่ากลั้นปัสสาวะ เมื่อรู้สึกปวดต้องไปปัสสาวะ

เวลาปัสสาวะไม่ควรรีบร้อนเบ่งมาก เพราะอาจทำให้หูรูดปัสสาวะชำรุดได้

ควรถ่ายปัสสาวะให้เหลือน้อยที่สุดในหนึ่งครั้ง นั่นคือเมื่อรู้สึกถ่ายหมดแล้วให้เบ่งต่ออีกนิดหน่อย ปัสสาวะที่เหลือจะไหลออกมา

ไม่ควรบังคับให้ตนเองถ่ายปัสสาวะบ่อย เพราะจะติดเป็นนิสัย เวลาที่เหมาะสมคือ 2-4 ชั่วโมง ควรถ่ายปัสสาวะหนึ่งครั้ง

ให้สังเกตการถ่ายปัสสาวะ และน้ำปัสสาวะของตนเองทุกครั้งว่า ต้องเบ่งมากผิดปกติหรือไม่ น้ำปัสสาวะลำพุ่งดีหรือไม่ ลำน้ำปัสสาวะมีขนาดเล็กลงกว่าเดิมหรือไม่ น้ำปัสสาวะมีสีเหลืองใสหรือไม่ เพราะสิ่งเหล่านี้อาจเป็นอาการผิดปกติที่สามารถบอกโรคได้

อาจจะล้างทำความสะอาดหลังปัสสาวะ แต่อย่าให้บริเวณนั้นเปียกชื้น เพราะอาจเกิดเชื้อราได้ ทางที่ดีหลังปัสสาวะทุกครั้ง ควรซับให้แห้ง

เมื่อปัสสาวะไม่ออก ต้องหาสาเหตุโดยการไปพบแพทย์ อย่าซื้อยาขับปัสสาวะรับประทานเพราะจะเกิดอันตรายได้

เมื่อเข้าสู่วัยกลางคน การบริหารอุ้งเชิงกรานโดยการขมิบ (ฝ่ายหญิงขมิบช่องคลอด ฝ่ายชายขมิบทวารหนัก) วันละ 100 ครั้ง จะช่วยป้องกันอาการปัสสาวะเล็ด

ดื่มน้ำสะอาด อย่างน้อยวันละ 10 แก้ว หรือหนึ่งลิตร จะช่วยให้น้ำปัสสาวะใส มีจำนวนพอดีและป้องกันภาวะปัสสาวะอักเสบ
น้ำปัสสาวะจะต้องเป็นน้ำเท่านั้น ถ้ามีมูก หนอง น้ำเหลือง เลือดปนออกมา ถือว่าผิดปกติต้องไปพบแพทย์

การขับถ่ายปัสสาวะ ต้องขับถ่ายคล่องไม่มีอาการเจ็บปวด ถ้าปัสสาวะแสบขัดลำบากนับว่าเป็นอาการผิดปกติ ต้องไปพบแพทย์อีกเช่นกัน

คนเราทุกคนต้องปัสสาวะทุกวัน วันละ 4-6 ครั้ง ถ้าไม่ปัสสาวะเลย 1 วัน ถือว่าตกอยู่ในภาวะอันตราย ต้องไปพบแพทย์โดยด่วน

ก่อนเดินทางไกล ก่อนยกของหนัก ควรปัสสาวะทิ้งก่อนทุกครั้ง

ขอให้คุณมีสุขภาพที่ดีค่ะ


วันศุกร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2551

Songkran

En Thaïlande, la fête de Songkran (สงกรานต์) marque le nouvel an bouddhique basé sur le calendier lunaire et fêtée également au Cambodge, au Laos et en Birmanie.
Originellement mobiles, les réjouissances attachées à cette fête sont désormais fixes en Thaïlande afin de faciliter la vie civile et ont lieu tous les ans du 13 au 15 avril, mais suivant les villes, les dates peuvent varier. Cependant, la date exacte du nouvel an est toujours tributaire du cycle lunaire.
Traditionnellement, les gens rentrent dans leur famille et font acte de respect envers leurs aînés en leur versant un peu d'eau parfumée sur les mains. Si cette tradition se perpétue dans les familles, ses manifestations publiques ont énormément évolué et, aujourd'hui, la fête est devenue prétexte à de gigantesques batailles d'eau dans les rues des villes.

A Chiang Mai notamment, ville où cette fête est particulièrement célébrée, des pick-up chargés de bidons d'eau et de jeunes gens défilent dans les rues le long desquelles la foule est massée, « armée » de seaux d'eau. Les deux groupes, motorisés et piétons, s'aspergent mutuellement dans une ambiance bon enfant.


Durant les trois jours que durent les célébrations, il est quasiment impossible de se déplacer dans les rues d'une ville sans se faire asperger copieusement plusieurs fois.
À
Pattaya, la présence d'une foule de touristes et l'arrivée d'une multitude d'habitants de Bangkok, fait prendre à la fête un tour délirant et souvent excessif.
Chaque année, la période de Songkran, qui voit le plus grand mouvement de population annuel en Thaïlande, est marquée d'accidents dûs à la conduite en état d'ébriété ou provoqués par des jets d'eau malencontreux qui font perdre aux motocyclistes le contrôle de leur machine.

calendier ปฏิทิน

bouddhique ศาสนาพุทธ

mouvement เคลื่อนไหว

contrôle การควบคุม

perdre เสียหาย